cropped-03-praduu-abbreviation.png

ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกบทความ เพื่อนำเสนอบทความในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรี “ศิลปศาสตร์วิจัยวลัยลักษณ์” ครั้งที่ 3

ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกบทความ เพื่อนำเสนอบทความในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรี “ศิลปศาสตร์วิจัยวลัยลักษณ์” ครั้งที่ 3 ในวันที่ 29 มีนาคม 2561 ณ อาคารเรียนรวม 3 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ดังนี้

ห้องที่ 1 กลุ่มภาษา วรรณกรรม และการศึกษา (ห้อง 3310)

ลำดับ

เวลา หัวข้อผลงาน-ผู้นำเสนอ

สังกัด

1 10.30-10.50 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือประกอบการใช้หนังสือแบบเรียน Pop-up เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ทางด้านคำศัพท์ภาษาจีน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

โดย นางสาวธัญพัฒน์ ขาวทุ่ง และอาจารย์ถิรายุ อินทร์แปลง

สาขาวิชาการสอนภาษาจีน สำนักวิชาจีนวิทยา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
2 10.50-11.10 การตั้งชื่อร้านค้าในเขตเทศบาลนครภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต

โดย นางสาวชรินทร์ทิพย์ โขงรัม

สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
3 11.10-11.30 กลวิธีการใช้ภาษาแสดงอารมณ์ขันในคอลัมน์โจ๊กของนิตยสารคู่สร้างคู่สม

โดย นางสาวธันย์ชนก จินดาพล

สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
4 11.30-11.50 การพัฒนาทักษะการจำคำศัพท์โดยใช้สมุดเล่มเล็ก

โดย นางสาวจรินทิพย์ บัวเกตุ

หลักสูตรภาษาจีน สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
พักรับประทานอาหารกลางวัน
5 13.00-13.20 แผ่นป้ายเงื่อนไขน้ำหนักกระเป๋าของสายการบินสปริงแอร์ไลน์และเส้นสติ๊กเกอร์บอกจุดต่อแถว ณ สนามบินนานาชาติสุราษฎร์ธานี

โดย นางสาวรชตวัน รัตนภักดี

หลักสูตรภาษาจีน สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
6 13.20-13.40 Life Manifestation: An Analysis of Pandine's ‘Looking for Angel’ (2011)

โดย นางสาวอารยา​ ด่านมะลิ​ และนางสาวจณิสตา​ ชูช่วย

หลักสูตรภาษาอังกฤษ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
7 13.40-14.00 The Changing of Contemporary Yaoi in Character

โดย นางสาวพิมายรัตน์ หวานนวล

หลักสูตรภาษาอังกฤษ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
8 14.00-14.20 An Analysis of Pronoun ‘I’ in Thai Translated Version of ‘Thepajao Hang Sing Lek Lek (2007)’

โดย นางสาวพรวรินทร์ พาหนะ และนางสาวเวธกา พูลนิล

หลักสูตรภาษาอังกฤษ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
9 14.20-14.40 การใช้ภาษาพาดหัวข่าวในเว็บไซต์ www.sanook.com

โดย นางสาววรวรรณ ทิพย์อุดมลักษณ์

สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
10 14.40-15.00 การใช้โวหารและภาพพจน์ที่ปรากฏในนวนิยายเรื่อง ‘เดียวดายใต้ฟ้าคลั่ง’ ของ แดนอรัญ แสงทอง

โดย นางสาวเจริญศรี หมื่นละม้าย

สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
11 15.00-15.20 Cerita Calon Arong: ตำนานหญิงม่ายในเมืองอาถรรพ์ เขียนหญิงโดยชายในวรรณกรรมอินโดนีเซีย

โดย นางสาวทัสนีม เจ๊ะเตะ และนางสาวธิดาทิพย์ ศรีสุข

หลักสูตรอาเซียนศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
12 15.20-15.40 ป้ายอธิบายขั้นตอนการคืนภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับผู้โดยสารสายการบินสปริงแอร์ไลน์

โดย นางสาวศิริลักษณ์ ไวยทรัพย์

หลักสูตรภาษาจีน สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

หมายเหตุ:

  • เวลา 20 นาทีต่อหนึ่งหััวข้อตามที่ปรากฏในตารางนั้น ได้รวมทั้งเวลาในการนำเสนอและเวลาในการซักถาม/ให้ความคิดเห็นไว้แล้ว ดังนั้นนักศึกษาควรใช้เวลาในการนำเสนอประมาณ 10-15 นาที
  • ภาคบ่าย แจกอาหารว่างในห้องประชุม

ห้องที่ 2 กลุ่มประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ และชุมชนท้องถิ่น (ห้อง 3211)

ลำดับ เวลา หัวข้อผลงาน-ผู้นำเสนอ สังกัด
1 10.30-10.50 เสื้อคอกระเช้าบ้านหนองฟ้าเลื่อน ฝีจักรขับเคลื่อนแห่งยุคทุนนิยม

โดย นางสาวอรัญญา ภูมิสาขา

หลักสูตรไทยศึกษาบูรณาการ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2 10.50-11.10 การล่ม-สลายของตลาดผีหีบ จังหวัดนครศรีธรรมราช

โดย นายศักดา ไชยภาณุรักษ์ และ นายชยกร ชูพันธ์

หลักสูตรไทยศึกษาบูรณาการ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
3 11.10-11.30 พัฒนาการด้านเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนตลาดบางแก้ว จ.พัทลุ

โดย นางสาวชมพูนุช อินทะสระ

หลักสูตรประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
พักรับประทานอาหารกลางวัน
4 13.00-13.20 ชาวจีนโพ้นทะเลกวางไส: กรณีศึกษาชาวไทยเชื้อสายจีนกวางไส อ.เบตง จ.ยะลา

โดย นายเอกพงษ์ ศิริพิริยกุล

หลักสูตรภาษาจีน สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
5 13.20-13.40 โคระ ภูมิปัญญาพื้นบ้านลานสกา

โดย นางสาวอารีรัตน์ วิทกำจร และนางสาวทิพวัลย์ ใจห้าว

หลักสูตรไทยศึกษาบูรณาการ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
6 13.40-14.00 พื้นที่กับบทบาทหญิงชายในสังคมเวียดนามหลัง Đổi Mới

โดย นางสาวจตุพร หน่อคำหล้า และนางสาวศุภพาพร สมใจหมาย

หลักสูตรอาเซียนศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
7 14.00-14.20 บทบาทของนักศึกษามุสลิมกับการเรียกร้องสิทธิในการคลุมฮิญาบ วิทยาลัยครูยะลา พ.ศ. 2530-2531

โดย นางสาวมาเรียม อาลีราฮีม

หลักสูตรประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
8 14.20-14.40 การเดินทางของควัน: วัฒนธรรมความเป็นชายและนัยยะทางเศรษฐกิจของบุหรี่ในอินโดนีเซียร่วมสมัย

โดย นายชาศร เถาว์สุวรรณ และนายอภินันท์ ชุมนวล

หลักสูตรอาเซียนศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
9 14.40-15.00 จะทิ้งหม้อแล้วหรือสทิงหม้อ: สถานภาพช่างปั้นหม้อในช่วงทศวรรษ 2510 – ปัจจุบัน

โดย นางสาวรัชนีกร สุวรรณโณ

หลักสูตรประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

หมายเหตุ:

  • เวลา 20 นาทีต่อหนึ่งหััวข้อตามที่ปรากฏในตารางนั้น ได้รวมทั้งเวลาในการนำเสนอและเวลาในการซักถาม/ให้ความคิดเห็นไว้แล้ว ดังนั้นนักศึกษาควรใช้เวลาในการนำเสนอประมาณ 10-15 นาที
  • ภาคบ่าย แจกอาหารว่างในห้องประชุม

 

ห้องที่ 3 กลุ่มการท่องเที่ยว สื่อ และวัฒนธรรมสมัยนิยม (ห้อง 3216)

ลำดับ เวลา หัวข้อผลงาน-ผู้นำเสนอ สังกัด
1 10.30-10.50 การใช้ภาษาของพิธีกรรายการเทยเที่ยวไทย

โดย นางสาววรรณนิสา บุญช้าง

สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
2 10.50-11.10 ความงามของหญิงไทย: ศึกษาผ่านคอลัมน์นิตยสารฉลาดซื้อ พ.ศ. 2540-2560

โดย นางสาวโชติภา นำมะม่วง

หลักสูตรประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
3 11.10-11.30 โฟ้โก๋: มองบ้านเยี่ยมเรือน ความเปลี่ยนแปลงทางสถาปัตยกรรมและการจัดการพื้นที่กลางกรุงฮานอย

โดย นางสาวลัดเกล้า ไกรแก้ว

หลักสูตรอาเซียนศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
พักรับประทานอาหารกลางวัน
4 13.00-13.20 ภาพพจน์ที่ปรากฏในเนื้อเพลงที่ขับร้องโดยวงโปเตโต้

โดย นายสำราญ แทนผล

สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
5 13.20-13.40 ภาพพจน์ที่ปรากฏในบทเพลงที่ขับร้องโดยบ่าววี อาร์สยาม

โดย นางสาวอาภาภรณ์ ปลอดปล้อง

สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
6 13.40-14.00 หมูย่างเมืองตรัง วิถีการบริโภคสู่การท่องเที่ยว

โดย นางสาวนิสาลักษณ์ ยิ้วประพันธ์ และ นางสาวสุธิณี อินทศิลา

หลักสูตรไทยศึกษาบูรณาการ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
7 14.00-14.20 บาตู: จากเมืองตากอากาศอาณานิคมสู่เมืองท่องเที่ยวแห่งชาติ

โดย นางสาวกัสติมา ไทยเมือง และนายศุภกร ยกย่อง

หลักสูตรอาเซียนศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
8 14.20-14.40 การใช้ภาษาพาดหัวบทโฆษณาในนิตยสารเที่ยวรอบโลก

โดย นางสาวพรพรรณ ลีลาพันธ์

สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
9 14.40-15.00 การเปลี่ยนแปลงของชุมชนมะนัง จ.สตูล ภายใต้กระแสของการท่องเที่ยวจากทศวรรษ 2540 จนถึงปัจจุบัน

โดย นางสาวอุษา นิลละหีม

หลักสูตรประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
10 15.00-15.20 การปรับตัวของธุรกิจวงการเพลงไทย กรณีศึกษาบริษัทจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด ในช่วง พ.ศ. 2540-2560

โดย นางสาวสิริวิมล นกแก้ว

หลักสูตรประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

หมายเหตุ:

  • เวลา 20 นาทีต่อหนึ่งหััวข้อตามที่ปรากฏในตารางนั้น ได้รวมทั้งเวลาในการนำเสนอและเวลาในการซักถาม/ให้ความคิดเห็นไว้แล้ว ดังนั้นนักศึกษาควรใช้เวลาในการนำเสนอประมาณ 10-15 นาที
  • ภาคบ่าย แจกอาหารว่างในห้องประชุม

การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรี “ศิลปศาสตร์วิจัยวลัยลักษณ์” ครั้งที่ ๓ คลิก!

 

Facebook Comments Box